Tuesday, October 22, 2024
More
    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไทย-แปลภาษาจีน

    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไทย-แปลภาษาจีน

    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไทย-แปลภาษาจีน
    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไทย-แปลภาษาจีน

    ครั้งแรกในไทยที่มีการแปลกฎหมายแพ่งเป็นภาษาจีน

    ฉบับปรับปรุงใหม่สุด

    จับประเด็นทุกมาตรา
    ทันสมัย 5 ปี ตามคูปอง
    แถม 3 MP3 กฎหมายทดลองฟัง
    อัจฉริยะ เชื่อมคำ โยงทุกกฎหมาย
    ลุ้นกฎหมายฟรี 10,000.-
    สารบัญ

    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์


    ( ไทย-จีน )

    พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติ บรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ได้ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕

    ข้อความเบื้องต้น
    บรรพ ๑ หลักทั่วไป
    ลักษณะ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    ลักษณะ ๒ บุคคล
    หมวด ๑ บุคคลธรรมดา
    ส่วนที่ ๑ สภาพบุคคล
    ส่วนที่ ๒ความสามารถ
    ส่วนที่ ๓ภูมิลำเนา
    ส่วนที่ ๔ สาบสูญ
    หมวด ๒ นิติบุคคล
    ส่วนที่ ๑บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    ส่วนที่ ๒สมาคม
    ส่วนที่ ๓มูลนิธิ
    ลักษณะ ๓ ทรัพย์
    ลักษณะ ๔ นิติกรรม
    หมวด ๑บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒การแสดงเจตนา
    หมวด ๓โมฆะกรรมและโมฆียะกรรม
    หมวด ๔เงื่อนไขและเงื่อนเวลา
    ลักษณะ ๕ ระยะเวลา
    ลักษณะ ๖ อายุความ
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ กำหนดอายุความ

    บรรพ ๒ หนี้
    ลักษณะ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๑ วัตถุแห่งหนี้
    หมวด ๒ ผลแห่งหนี้
    ส่วนที่ ๑ การไม่ชำระหนี้
    ส่วนที่ ๒ รับช่วงสิทธิ
    ส่วนที่ ๓ การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
    ส่วนที่ ๔ เพิกถอนการฉ้อฉล
    ส่วนที่ ๕ สิทธิยึดหน่วง
    ส่วนที่ ๖ บุริมสิทธิ
    ๑. บุริมสิทธิสามัญ
    ๒. บุริมสิทธิพิเศษ
    (ก) บุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์
    (ข) บุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย์
    ๓. ลำดับแห่งบุริมสิทธิ
    ๔. ผลแห่งบุริมสิทธิ
    หมวด ๓ ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน
    หมวด ๔โอนสิทธิเรียกร้อง
    หมวด ๕ ความระงับหนี้
    ส่วนที่ ๑ การชำระหนี้
    ส่วนที่ ๒ ปลดหนี้
    ส่วนที่ ๓ หักกลบลบหนี้
    ส่วนที่ ๔ แปลงหนี้ใหม่
    ส่วนที่ ๕ หนี้เกลื่อนกลืนกัน
    ลักษณะ ๒ สัญญา
    หมวด ๑ ก่อให้เกิดสัญญา
    หมวด ๒ ผลแห่งสัญญา
    หมวด ๓ มัดจำและกำหนดเบี้ยปรับ
    หมวด ๔ เลิกสัญญา
    ลักษณะ ๓ จัดการงานนอกสั่ง
    ลักษณะ ๔ ลาภมิควรได้
    ลักษณะ ๕ ละเมิด
    หมวด ๑ ความรับผิดเพื่อละเมิด
    หมวด ๒ ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด
    หมวด ๓ นิรโทษกรรม

    บรรพ ๓ เอกเทศสัญญา
    ลักษณะ ๑ ซื้อขาย
    หมวด ๑ สภาพและหลักสำคัญของสัญญาซื้อขาย
    ส่วนที่ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    ส่วนที่ ๒ การโอนกรรมสิทธิ์
    หมวด ๒ หน้าที่และความรับผิดของผู้ขาย
    ส่วนที่ ๑ การส่งมอบ
    ส่วนที่ ๒ ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง
    ส่วนที่ ๓ ความรับผิดในการรอนสิทธิ
    ส่วนที่ ๔ ข้อสัญญาว่าจะไม่ต้องรับผิด
    หมวด ๓ หน้าที่ของผู้ซื้อ
    หมวด ๔ การซื้อขายเฉพาะบางอย่าง
    ส่วนที่ ๑ ขายฝาก
    ส่วนที่ ๒ ขายตามตัวอย่าง ขายตามคำพรรณนาขายเผื่อชอบ
    ส่วนที่ ๓ ขายทอดตลาด
    ลักษณะ ๒ แลกเปลี่ยน
    ลักษณะ ๓ ให้
    ลักษณะ ๔ เช่าทรัพย์
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ หน้าที่และความรับผิดของผู้ให้เช่า
    หมวด ๓ หน้าที่และความรับผิดของผู้เช่า
    หมวด ๔ ความระงับแห่งสัญญาเช่า
    ลักษณะ ๕ เช่าซื้อ
    ลักษณะ ๖ จ้างแรงงาน
    ลักษณะ ๗ จ้างทำของ
    ลักษณะ ๘ รับขน
    หมวด ๑ รับขนของ
    หมวด ๒ รับขนคนโดยสาร
    ลักษณะ ๙ ยืม
    หมวด ๑ ยืมใช้คงรูป
    หมวด ๒ ยืมใช้สิ้นเปลือง
    ลักษณะ ๑๐ ฝากทรัพย์
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ วิธีเฉพาะการฝากเงิน
    หมวด ๓ วิธีเฉพาะสำหรับเจ้าสำนักโรงแรม
    ลักษณะ ๑๑ ค้ำประกัน
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ ผลก่อนชำระหนี้
    หมวด ๓ ผลภายหลังชำระหนี้
    หมวด ๔ ความระงับสิ้นไปแห่งการค้ำประกัน
    ลักษณะ ๑๒ จำนอง
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ สิทธิจำนองครอบเพียงใด
    หมวด ๓ สิทธิและหน้าที่ของผู้รับจำนองและผู้จำนอง
    หมวด ๔ การบังคับจำนอง
    หมวด ๕ สิทธิและหน้าที่ของผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง
    หมวด ๖ ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจำนอง
    ลักษณะ ๑๓ จำนำ
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ของผู้จำนำและผู้รับจำนำ
    หมวด ๓ การบังคับจำนำ
    หมวด ๔ ความระงับสิ้นไปแห่งการจำนำ
    ลักษณะ ๑๔ เก็บของในคลังสินค้า
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ ใบรับของคลังสินค้าและประทวนสินค้า
    ลักษณะ ๑๕ ตัวแทน
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ หน้าที่และความรับผิดของตัวแทนต่อตัวการ
    หมวด ๓ หน้าที่และความรับผิดของตัวการต่อตัวแทน
    หมวด ๔ ความรับผิดของตัวการและตัวแทนต่อบุคคลภายนอก
    หมวด ๕ ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาตัวแทน
    หมวด ๖ ตัวแทนค้าต่าง
    ลักษณะ ๑๖นายหน้า
    ลักษณะ ๑๗ ประนีประนอมยอมความ
    ลักษณะ ๑๘การพนันและขันต่อ
    ลักษณะ ๑๙บัญชีเดินสะพัด
    ลักษณะ ๒๐ประกันภัย
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ ประกันวินาศภัย
    ส่วนที่ ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    ส่วนที่ ๒ วิธีเฉพาะการประกันภัยในการรับขน
    ส่วนที่ ๓ ประกันภัยค้ำจุน
    หมวด ๓ ประกันชีวิต
    ลักษณะ ๒๑ ตั๋วเงิน
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ ตั๋วแลกเงิน
    ส่วนที่ ๑ การออกและสลักหลังตั๋วแลกเงิน
    ส่วนที่ ๒ การรับรอง
    ส่วนที่ ๓ อาวัล
    ส่วนที่ ๔ การใช้เงิน
    ส่วนที่ ๕ การสอดเข้าแก้หน้า
    (๑) การรับรองเพื่อแก้หน้า
    (๒) การใช้เงินเพื่อแก้หน้า
    ส่วนที่ ๖ สิทธิไล่เบี้ยเพราะเขาไม่รับรองหรือไม่ใช้เงิน
    ส่วนที่ ๗ ตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ
    หมวด ๓ ตั๋วสัญญาใช้เงิน
    หมวด ๔ เช็ค
    หมวด ๕ อายุความ
    หมวด ๖ ตั๋วเงินปลอม ตั๋วเงินถูกลัก และตั๋วเงินหาย

    ลักษณะ ๒๒ หุ้นส่วนและบริษัท
    หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    หมวด ๒ ห้างหุ้นส่วนสามัญ
    ส่วนที่ ๑ บทวิเคราะห์
    ส่วนที่ ๒ ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกันเอง
    ส่วนที่ ๓ ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนกับบุคคลภายนอก
    ส่วนที่ ๔ การเลิกและชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนสามัญ
    ส่วนที่ ๕ การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญ
    ส่วนที่ ๖ การควบห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนเข้ากัน
    หมวด ๓ ห้างหุ้นส่วนจำกัด
    หมวด ๔ บริษัทจำกัด
    ส่วนที่ ๑ สภาพและการตั้งบริษัทจำกัด
    ส่วนที่ ๒ หุ้นและผู้ถือหุ้น
    ส่วนที่ ๓ วิธีจัดการบริษัทจำกัด
    ๑. บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
    ๒. กรรมการ
    ๓. ประชุมใหญ่
    ๔. บัญชีงบดุล
    ๕. เงินปันผลและเงินสำรอง
    ๖. สมุดและบัญชี

    ส่วนที่ ๔ การสอบบัญชี
    ส่วนที่ ๕ การตรวจ
    ส่วนที่ ๖ การเพิ่มทุนและลดทุน
    ส่วนที่ ๗ หุ้นกู้
    ส่วนที่ ๘ เลิกบริษัทจำกัด
    ส่วนที่ ๙ การควบบริษัทจำกัดเข้ากัน
    ส่วนที่ ๑๐ หนังสือบอกกล่าว
    ส่วนที่ ๑๑ การถอนทะเบียนบริษัทร้าง
    หมวด ๕ การชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัดและบริษัทจำกัด
    ลักษณะ ๒๓ สมาคม ... (ยกเลิก)

    ฯลฯ